ค้นหาแอปพลิเคชันตามประเภท

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
120 ชั้น 9 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทร. 0 2142 1337 | แฟกซ์. 0 2143 8043 | อีเมล์. pwds@onde.go.th

ไทยมีงานทำ

เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.)
695
รองรับ:
จำนวนผู้เข้าชม : 695 ครั้ง

คำอธิบายเกี่ยวกับแอพลิเคชัน

"เป็นการรวบรวมความต้องการแรงงานของภาครัฐ และเอกชนในการจับคู่งาน ระหว่างตัวพนักงานและตำแหน่งงาน ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือที่เรียกกันว่า AI รวมทั้งพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนและรายงานตัวผู้ประกันตน กรณีว่างงาน ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยบูรณาการ เป็นการรวบรวมความต้องการแรงงานของภาครัฐ และเอกชนในการจับคู่งาน ระหว่างตัวพนักงานและตำแหน่งงาน ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือที่เรียกกันว่า AI รวมทั้งพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนและรายงานตัวผู้ประกันตน กรณีว่างงาน ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยบูรณาการ การทำงานร่วมกันระหว่างสำนักงานประกันสังคม , กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกรมพัฒนาฝีมือแรงงานกระทรวงแรงงาน ร่วมพัฒนาระบบการใช้สิทธิ์ / รับสิทธิ์ คนพิการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ.2550 มาตรา 35 และเพื่อพัฒนาระบบศูนย์บริหารจัดการข้อมูลกลางกรมการจัดงาน (DOEE data center)" - ดร. ภควัต รักศรี, ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน e-Supply Management มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (ผู้รีวิว)
ข้อมูลเพิ่มเติม
เผยแพร่ศูนย์รวมแอปพลิเคชันของผู้พิการ
2021-10-31 19:34:22
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
2024-04-27 09:35:28
คลิ๊กดาวโหลดทั้งหมด
0 ครั้ง
สามารถดาวโหลดใช้งานได้ผ่าน
รองรับภาษา
ภาษาไทย / -
ความเหมาะสมสำหรับผู้ใช้งาน
เว็บไซต์ผู้พัฒนา

แอปพลิเคชันอื่นๆ

Pannana ผู้เผยแพร่: สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.)

"แอปพลิเคชันนี้เป็นการร่วมมือกันของ บริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน), บริษัท จีดีเอช ห้าห้าเก้า จำกัด, บริษัท กล่องดินสอ จำกัด และสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยการดาวน์โหลดแอปพลิเคชันและดาวน์โหลดสารบัญของเสียงบรรยายภาพยนตร์ที่ต้องการ จากนั้นเสียบหูฟัง แล้วเดินเข้าโรงภาพยนตร์ร่วมกับคนสายตาปกติ จากนั้นแอปพลิเคชันจะฟังเสียงของภาพยนตร์ ที่ดำเนินอยู่และเชื่อมต่อเข้ากับระบบฐานข้อมูลเพื่อค้นหาเสียงบรรยายภาพและเริ่มใช้ได้ทันที ทำให้คนพิการ ทางการมองเห็นสามารถสร้างภาพจินตนาการจากการฟังบรรยายภาพด้วยเสียง" - ดร. ภควัต รักศรี, ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน e-Supply Management มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (ผู้รีวิว)

Android Accessibility Suite ผู้เผยแพร่: สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.)

"การช่วยเหลือพิเศษใน Android คือชุดแอปพลิเคชัน การช่วยเหลือพิเศษที่ช่วยให้ใช้อุปกรณ์ Android ได้โดย ไม่ต้องใช้สายตาหรือใช้กับอุปกรณ์สวิตช์ การช่วยเหลือพิเศษใน Android จะมีสิ่งต่อไปนี้ เมนูการช่วยเหลือพิเศษ: ใช้เมนูบนหน้าจอที่มีขนาดใหญ่เพื่อล็อกโทรศัพท์ ควบคุมระดับเสียงและความสว่าง ถ่ายภาพหน้าจอ เลือกเพื่อให้อ่าน: เลือกรายการบนหน้าจอและฟังการอ่านออกเสียง การเข้าถึงด้วยสวิตช์: โต้ตอบกับอุปกรณ์ Android โดยใช้สวิตช์อย่างน้อย 1 ตัวหรือใช้แป้นพิมพ์แทนที่จะใช้หน้าจอสัมผัส" - ดร. ภควัต รักศรี, ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน e-Supply Management มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (ผู้รีวิว)

สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล